-บ้านแม่ลัว (ML) ตำบลป่าแดง อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่
ด้วยข้อจำกัดของการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่บ้านแม่ลัวมีพื้นที่สวนชาเมี่ยง สวนหลังบ้าน และพื้นที่หย่อมป่า ดินชั้นบน (surface soil, 0-5 cm) จากความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยดินทางฟิสิกส์โดยเฉพาะความแข็งดินและปัจจัยทางเคมีดินพบว่า ความแข็งดิน (soil hardness) ในพื้นที่สวนชาเมี่ยง (Mg) จะแสดงออกอย่างเด่นชัดที่จัดกลุ่มสูงกว่าการใช้ประโยชน์ที่ดินรูปแบบหย่อมป่า (Rf) สวนหลังบ้าน (Hg) และพื้นที่เกษตร (Af) คล้ายกับบ้านเหล่า ตำบลเมืองก๋าย อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ และพื้นที่บ้านป่าแหมี้ยง ตำบลแจ้ซ้อน อำเภอเมืองปาน จังหวัดลำปาง ความสัมพันธ์ดินชั้นบน (ภาพที่ 67 ถึง ภาพที่ 88) และความสัมพันธ์ดินชั้นล่าง (ภาพที่ 74 ถึง ภาพที่ 84) แสดงถึงพื้นที่สวนชาเมี่ยงมีความอุดมสมบูรณ์ของดินที่สูง ในขณะที่ความแข็งของดินสูง สอดคล้องกับการศึกษาของ Tanaka et.al (2010).และ Lattirasuvan et al. (2010)

ภาพที่ 68 ความแข็งดินและ pH ดินชั้นบนบ้านแม่ลัว ต.ป่าแดง อ.เมืองแพร่ จ. แพร่

ภาพที่ 69 ความแข็งดินและ CEC ดินชั้นบนบ้านแม่ลัว ต.ป่าแดง อ.เมืองแพร่ จ. แพร่

ภาพที่ 70 ความแข็งดินและ OM ดินชั้นบนบ้านแม่ลัว ต.ป่าแดง อ.เมืองแพร่ จ. แพร่

ภาพที่ 71 ความแข็งดินและ Avail. P ดินชั้นบนบ้านแม่ลัว ต.ป่าแดง อ.เมืองแพร่ จ. แพร่

ภาพที่ 72 ความแข็งดินและ Exch.K ดินชั้นบนบ้านแม่ลัว ต.ป่าแดง อ.เมืองแพร่ จ. แพร่

ภาพที่ 73 ความแข็งดินและ Exch. Na ดินชั้นบนบ้านแม่ลัว ต.ป่าแดง อ.เมืองแพร่ จ. แพร่